วิเคราะห์ข้อสอบอุปมา อุปมัย ในเรื่องของส่วนประกอบประกอบหมายถึงส่วนย่อยส่วนย่อยของส่วนใหญ่ก็ได้ส่วนของกันและกันก็ได้ซึ่งในข้อนี้เราจะมาดูกันว่าโจทย์ที่ให้มานั้นเป็นเรื่องของ นาก : ทอง
ก. ชมพู : แดง
ข. นิโคติน : ยาสูบ
ค. แอลกอฮอล์ : สุรา
ง. ออกซิเจน : คาร์บอน
เรามาเริ่ม มาดูกันว่าข้อนี้จะเป็นยังไงเท่านี้มีเพียงกันนิดหน่อยมันจะเป็นข้อคาร์บอนไหมหรือว่ายังไง วิเคราะห์ข้อสอบอุปมา อุปมัยอันนี้เรายึดตัวเลือกที่เห็นส่วนใหญ่ที่จะมาหลอกมานะ ข้อ ง. ออกซิเจน : คาร์บอน ขอให้ดูว่าที่โจทย์ให้มานั้น งานราชการ นาก : ทองจากโจทย์ที่ให้มารู้ไหมว่านากนั้นมีทองผสมอยู่ ลองวิเคราะห์ดู นากมันเกิดจากอะไร ก็เกิดจากทองแดงและทองคำ ในนากมีทองผสมอยู่
วิเคราะห์ข้อสอบอุปมา อุปมัย เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ. แนวข้อสอบก.พ.ล่าสุด พร้อมเฉลย แบบเจาะลึก เข้าใจชัวร์
แปลว่าเป็นความสัมพันธ์ที่คำหลังมันเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของคำหน้า คำหน้า <- คำหลัง เมื่อเราได้โจทย์แล้ว เราต้องมาวิเคราะห์โจทย์กันต่อข้อ ก. ชมพู : แดง เหมือนกัน ไหมคำหลัง คำว่าแดง เป็นส่วนประกอบของชมพูไหม วิเคราะห์ข้อสอบอุปมา อุปมัยคำว่าชมพูเกิดจากอะไรมีแดงถูกไหมมีแดงผสมอยู่แดงกับขาวผสมออกมาออกมาเป็นชมพู แปลว่าอะไรชมพูนั้นมีสีแดงผสมอยู่เช่นเดียวกับนากมีทองคำมีทองผสมอยู่
ข้อ ข. นิโคติน : ยาสูบ เป็นสารเสพติดชนิดหนึ่ง ซึ่งวิเคราะห์จากโจทย์แล้ว นิโคตินเป็นสารเสพติดที่อยู่ในบุหรี่ซึ่งถ้าเราวิเคราะห์แล้ว ข้อนี้มันเป็นความสัมพันธ์แบบหน้า ไป หลัง
ค. แอลกอฮอล์ : สุรา ถ้ามานั่งวิเคราะห์แล้วก็จะเหมือนกับข้อ ข. นั่นเอง เพราะฉะนั้นเราตัดทิ้งได้เลย
ง. ออกซิเจน : คาร์บอน ส่วนข้อนี้ไม่ต้องสนใจเลย เพราะมันเป็นเรื่องของธาตุ มันไม่เกี่ยวอะไรอยู่แล้ว แต่ถ้าจะมาวิเคราะห์กันสักเล็กน้อย ก็ทำได้ ซึ่งความสัมพันธ์มันก็เหมือนกับข้อ ข.นั่นแหละ เพราะฉะนั้นข้อนี้คำตอบที่มันชัดมากที่สุดนะคือข้อ ก. ชมพู : แดง นั่นเอง เพราะในนากมีทองผสมอยู่ ในสีชมพูก็มีสีแดงผสมอยู่วิเคราะห์ข้อสอบอุปมา อุปมัยจะเห็นได้ว่า ข้อสอบก.พ. นั้นจะมีมาหลอกเรา แต่หากเรามีหลักคิด แล้วค่อยๆ คิดตามแบบนี้จะทำให้เราจับประเด็นแล้วมันก็จะทำข้อสอบได้ง่ายขึ้น