
สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้ผมจะมาแนะนำ สรุประเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับภาพรวม ถ้าใครมีพื้นอยู่แล้ว ให้อ่านชุดนี้เชื่อว่าเพื่อนๆ จะจำได้แม่นขึ้น ตัดคำเวิ่นเว้อออก และคัดเน้นๆ มาให้แล้วครับ แต่ถ้าใครไม่ไหวแบบนี้ก็ขอให้ดู ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน สรุปแบบค่อยเป็นค่อยไปได้ครับ

– นายกรัฐมนตรี = รักษาการหรือเป็นผู้ดูแลระเบียบนี้
– สำนักก.พ. และ สำนักงบประมาณ = ตำแหน่งที่โอนรวม พ.ร.ฎ. 3 ปี
– รัฐมนตรีเจ้าสังกัด = มีหน้าที่ออกกฎกระทรวงต่างๆ เพื่อให้งานหรือภารกิจของกระทรวงขับเคลื่อนไปได้
– สำนักก.พ. และ สำนักงบประมาณ = มีหน้าที่เสนอคณะรัฐมนตรีในการแบ่งส่วนราชการในกระทรวง
– นกยกรัฐมนตรี = เป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในสำนักนายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี = เป็นผู้ช่วยนายกรัฐมนตรี
– สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี= ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
– เลขาธิการและรองเลขาธิการฝ่ายการเมือง = นักการเมือง ไม่ใช่ข้าราชการ
– สำนักปลัด = รับผิดชอบงานประจำทั่วๆ ไป
– รัฐมนตรีเจ้าสังกัด = เสนอคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอธิบดีส่วนราชการที่ไม่ได้เป็นกรม
– ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม = ต้องวางแผนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
สรุประเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับเล่นได้อ่านสอบ เน้นจุดสำคัญมาจริงๆ ไม่มีน้ำ คัดกันมาแบบสดๆ

– รัฐมนตรีเจ้าสังกัด = บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวง
– สรุประเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หัวหน้ากลุ่มภารกิจ = ไม่ต่ำกว่า อธิบดี ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงนั้นๆ
– สำนักนายกรัฐมนตรี = เป็นข้าราชการการเมือง
– เลขานุการรัฐมนตรี = ข้าราชการ การเมือง ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีประจำกระทรวง
– สำนักเลขานุการกรม = ปฏิบัติหน้าที่ราชการทั่วไปของกรม
– เลขานุการกรม = เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการสำนักเลขานุการกรม
– หัวหน้าส่วนราชการประจำเขต = รับนโยบายจากส่วนกลางมาปฏิบัติงานงานวิชาการ
– ผู้ตรวจราชการกระทรวง ทบวง กรม = มีหน้าที่ตรวจ และนำการปฏิบัติราชการ
– เลขาธิการ = อธิบดี
– หัวหน้าคณะผู้แทน = ต้องรับนโยบายจากคณะรัฐมนตรี
– คณะกรรมการจังหวัด = ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัด เห็นชอบจัดทำแผนพัฒนาในด้านต่าง ๆ
สรุประเบียบบริหารราชการแผ่นดินเห็นแบบนี้แล้วห้ามปวดหัวเด็ดขาด นี่คือสรุปย่อของจริงใช้สำหรับสอบ เพื่องานราชการของเราครับ