ส่วนที่ 1 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
* ให้การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ดังนี้
1) สำนักนายกรัฐมนตรี ( มีฐานะเป็นกระทรวง )
2) กระทรวง หรือทบวง ซึ่งมีฐานเทียบเท่ากระทรวง มีฐานะเป็น “นิติบุคคล”
3) ทบวง — > ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือสังกัดกระทรวง
4) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม
* การจัดตั้ง การรวม หรือ การโอน ส่วนราชการ
ให้ตราเป็น“พระราชบัญญัติ”
( การจัดตั้ง กรม ซึ่งไม่สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง — > ให้ระบุ “ไม่สังกัด” ไว้ใน พระราชบัญญัติด้วย )
* การจัดตั้ง การรวม หรือ การโอน ส่วนราชการ ตามวรรคหนึ่ง
ทไี่ ม่มี (ไม่เพิ่ม) การกำหนดตำแหน่ง / อัตราของข้าราชการลูกจ้าง เพิ่ม ให้ ต ร า เป็ น “พ ร ะ ร า ช กฤษฎีกา”
* การเปลี่ยนชื่อ ส่วนราชการให้ ต ร า เป็ น “พ ร ะ ร า ช กฤษฎีกา”
กรณี ตำแหน่งของข้าราชการนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุไว้ด้วย
* การยุบ ส่วนราชการ
ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยู่เป็นอันระงับไป ส่วนทรัพย์สินอื่นนั้นให้โอนให้ส่วนราชการอื่นตามที่ รัฐมนตรีกำหนด โดยความเห็นชอบของ “คณะรัฐมนตรี”
“ข้าราชการหรือลูกจ้าง” ต้องพ้นจากตำแหน่งอันเนื่องจากการยุบส่วนราชการ ได้รับเงินชดเชยตาม หลักเกณฑ์
“ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ” ประสงค์จะรับโอน ข้าราชการหรือลูกจ้าง ต้องกระทำภายใน 30 วัน” นับแต่วันประกาศ “พระราชกฤษฎีกา”
* การแบ่ง ส่วนราชการภายใน สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการ ( ที่เรียกชื่ออื่นที่มีฐานะ เป็นกรม )
– ให้ “รัฐมนตรีเจ้าของกระทรวง ให้ออกเป็น “กฎกระทรวง”
# กระทรวง # มีทั้งสิ้น 20 กระทรวง ( กระทรวงที่ตั้งขึ้นใหม่ 6 กระทรวง // เดิม 14 กระทรวง 1 ทบวง )
- สำนักนายกรัฐมนตรี
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- กระทรวงพลังงาน
- กระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงยุติธรรม
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงวัฒนธรรม
- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- กระทรวงศึกษาธิการ (ยุบ “ทบวงมหาวิทยาลัย”
รวม)
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงอุตสาหกรรม
Ø หมวด 1 การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
* การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตาม “กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม”
“สำนักนายกรัฐมนตรี” มีฐานะเป็น “กระทรวง”
* ให้ “ส่วนราชการ” ในสำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็น “กรม” โดยจัดระบบส่วนราชการ ดังนี้
1) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี / กรมประชาสัมพันธ์ / สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภค — > สายงานผ่าน “ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี” ( ไม่ได้ขึ้นตรงต่อ “นายกรัฐมนตรี” แต่อยู่ใต้ บังคับบัญชาของ “นายกรัฐมนตรี” )