Breaking News

สรุป พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 2

ส่วนที่  1 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง                                                             

*  ให้การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ดังนี้

1)  สำนักนายกรัฐมนตรี ( มีฐานะเป็นกระทรวง )

2)  กระทรวง หรือทบวง ซึ่งมีฐานเทียบเท่ากระทรวง                          มีฐานะเป็น “นิติบุคคล

3) ทบวง — > ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือสังกัดกระทรวง

4)  กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม

การจัดตั้ง  การรวม  หรือ การโอน ส่วนราชการ

ให้ตราเป็น“พระราชบัญญัติ”

( การจัดตั้ง กรม ซึ่งไม่สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง — > ให้ระบุ “ไม่สังกัด” ไว้ใน พระราชบัญญัติด้วย )

การจัดตั้ง  การรวม  หรือ การโอน ส่วนราชการ ตามวรรคหนึ่ง

ทไี่ ม่ม(ไม่เพิ่ม) การกำหนดตำแหน่ง / อัตราของข้าราชการลูกจ้าง เพิ่ม     ให้ ต ร า เป็ น  พ ร ะ ร า ช กฤษฎีกา

 

การเปลี่ยนชื่อ ส่วนราชการให้ ต ร า เป็ น  พ ร ะ ร า ช กฤษฎีกา

กรณี ตำแหน่งของข้าราชการนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุไว้ด้วย

การยุบ ส่วนราชการ

ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยู่เป็นอันระงับไป ส่วนทรัพย์สินอื่นนั้นให้โอนให้ส่วนราชการอื่นตามที่ รัฐมนตรีกหนด โดยความเห็นชอบของ “คณะรัฐมนตรี

ข้าราชการหรือลูกจ้าง” ต้องพ้นจากตำแหน่งอันเนื่องจากการยุบส่วนราชการ ได้รับเงินชดเชยตาม หลักเกณฑ์

ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ น่วยงานของรัฐ” ประสงค์จะรับโอน ข้าราชการหรือลูกจ้าง ต้องกระทำภายใน 30 ัน”  นับแต่วันประกาศ “พระราชกฤษฎีกา

การแบ่ง ส่วนราชการภายใน สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการ ( ที่เรียกชื่ออื่นที่มีฐานะ เป็นกรม )

– ให้ “รัฐมนตรีเจ้าของกระทรวง ให้ออกเป็น กฎกระทรวง

 

# กระทรวง # มีทั้งสิ้น 20 กระทรวง ( กระทรวงที่ตั้งขึ้นใหม่ 6 กระทรวง //  เดิม  14  กระทรวง  1 ทบวง )

 

  1. สำนักนายกรัฐมนตรี
  2. กระทรวงกลาโหม
  3. กระทรวงการคลัง
  4. กระทรวงการต่างประเทศ
  5. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  6. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์
  7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  8. กระทรวงคมนาคม
  9. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  10. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 

  1. กระทรวงพลังงาน
  2. กระทรวงพาณิชย์
  3. กระทรวงมหาดไทย
  4. กระทรวงยุติธรรม
  5. กระทรวงแรงงาน
  6. กระทรวงวัฒนธรรม
  7. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  8. กระทรวงศึกษาธิการ (ยุบ “ทบวงมหาวิทยาลัย”

รวม)

  1. กระทรวงสาธารณสุข
  2. กระทรวงอุตสาหกรรม

Ø หมวด  1  การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี

* การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตาม “กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม

 

“สนักนายกรัฐมนตรี” มีฐานะเป็น “กระทรวง

* ให้ “ส่วนราชการ” ในสำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็น “กรม” โดยจัดระบบส่วนราชการ ดังนี้

1) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี / กรมประชาสัมพันธ์ / สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภค — > สายงานผ่าน “ปลัดสนักนายกรัฐมนตรี” ( ไม่ได้ขึ้นตรงต่อ “นายกรัฐมนตรี” แต่อยู่ใต้ บังคับบัญชาของ “นายกรัฐมนตรี” )