Breaking News

สรุป พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 6

จังหวัดหนึ่ง ให้มคณะกรมการจังหวัด” ทหน้าที่

1) เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และให้ สอดคล้อง

2) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย หรือมติของคณะรัฐมนตรกำหนด

โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน / รองผู้ว่าราชการจังหวัด 1 คน / ปลัดจังหวัด / อัยการจังหวัด / ผู้ บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด / หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด

จังหวัดหนึ่ง ให้มผู้ว่าราชการจังหวัด” ทหน้าที่

1) บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน และตามแผนพัฒนาจังหวัด

2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง

3) การบริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของ “ผู้ตรวจราชการกระทรวง

4)  กำกับดูแลการปฏิบัติราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจำอยู่ในจังหวัดนั้น

5) ประสานงานและร่วมมือกับราชการอื่นในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัด / ป้องปัดภัย

พิบัติสาธารณะ

6) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้ “กระทรวงมหาดไทย” ทราบ

7) กำกับดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย

8) กำกับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐ ให้มีอำนาจทำรายงาน / ความเห็นเกี่ยวกับ การดำเนินงาน ต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด

9) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บำเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย

**  การยกเว้น จำกัด หรือตัดตอน เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด กระทำได้ โดยตราเป็น “พระ ราชกฤษฎีกา

จังหวัดหนึ่ง ให้ม

1) นักงานจังหวัด มีหน้าที่ราชการทั่วไป และวางแผนราชการจังหวัด  ( สำนักงานปลัดกระทรวง )

2) ส่วนราชการจังหวัด ( กระทรวง ทบวง กรม ตั้งขึ้น ) มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของ กระทรวง ทบวง กรม นั้น

 

ผู้ว่าราชการจังหวัด” มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบนโยบายจากส่วนกลาง เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาฝ่ายบริหาร ภูมิภาคในจังหวัด ( เป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย รับเงินเดือนสำนักงานปลัดกระทรวง ซึ่งเป็น ผู้ใต้บังคับบัญชาปลัดกระทรวงมหาดไทย )

หมวด  2  อำเภอ

*  จังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยงานราชการบริหารรองจากจังหวัดเรียกว่า  “อำเภอ”   ( ไม่มฐานะเป็น “นิติบุคคล” )

 

* การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขต                                            ให้ตราเป็น “พระราชกฤษฎีกา

* อำเภอ ให้มอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

1) อำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับ “จังหวัด” ( ข้อ 1 – 6 ) ไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน

2) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐ ในลักษณะ “ศูนย์บริการร่วม

3) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อขอความร่วมมือกับชุมชนในการดำเนินการให้มี

แผนชุมชน” รองรับการสนับสนุนงบประมาณจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม

4) การไกล่เกลี่ย จัดประนอมข้อพิพาท เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย

4.1. ที่ดินมรดก ข้อพิพาทที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท หรือมากกว่านั้น

4.2. ความผิดที่มีโทษทางอาญา (ความผิดอันยอมความได้) ที่มิใช่ความผิดเกี่ยวกับเพศ