Breaking News

สรุป พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 7

หนในอำเภอหนึ่งให้มีนายอำเภอ ทำหน้าที่
1) บริหารราชการตามกฎหมาย (8 ข้อ) ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง
3) บริหารราชการตามคำแนะนำและค าชี้แจงของ “ผู้ว่าราชการจังหวัด” / “ผู้มีหน้าที่ตรวจการ” ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย 4) ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอำเภอ
* ในอำเภอหนึ่ง ให้ม
1) สำนักงานอำเภอ มีหน้าที่ราชการทั่วไป โดยมีนายอำเภอเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
2) ส่วนราชการต่าง ( กระทรวง ทบวง กรม ตั้งขึ้น ) มีหน้าเกี่ยวกับราชการของ กระทรวง ทบวง กรม
นั้น
ส่วนที่  3 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น                                                            
* ให้การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (มีฐานะเป็นนิติบุคคล) ดังนี้ 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
2) เทศบาล
3) สุขาภิบาล ( ปัจจุบันยกฐานะเป็น “เทศบาล” หมดแล้ว )
4) ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กฎหมายกำหนด
* ปัจจุบัน “ราชการส่วนท้องถิ่น” แบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้
1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด                4) กรุงเทพมหานคร (รูปแบบพิเศษ)
2) เทศบาล                                    5) เมืองพัทยา (รูปแบบพิเศษ)
3) องค์การบริหารส่วนตำบล
ส่วนที่  4  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก.พ.ร. )                                                       
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ” ประกอบด้วย
1)  นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย                          เป็นประธาน
2)  รัฐมนตรี 1 คน (นายกรัฐมนตรีกำหนด)                                                 เป็นรองประธาน
3)  ผู้ซึ่ง  “คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” มอบหมาย 1 คน
4)   กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 10 คน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ”  อย่างน้อย 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน — {งานเต็มเวลา} “คณะรัฐมนตรี” (จากการสรรหาภายใน 30 วัน / รงตแหน่งคราวละ 4 ปีไม่เกิน 2 วาระ) แต่งตั้ง
อย่างน้อยด้านละ 1 คน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญใน ด้านนิติศาสตร์ / เศรษฐศาสตร์ / รัฐศาสตร์ / การบริหารรัฐ กิจ / การบริหารธุรกิจ / การเงิน / การคลัง / สังคมวิทยา
5) “เลขาธิการ ก.พ.ร.” เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง
************************************************************************************************
* ให้ “นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ” เป็นส่วนราชการใน “นักนายกรัฐมนตรไม่มี ฐานะเป็นกรม
* “เลขาธิการ ก.พ.ร.” มีฐานะเป็น “อธิบดี” เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ (เป็นข้าราชการพลเรือน ระดับ  10)
************************************************************************************************
*  หน้าที่ของ ก.พ.ร.
1)   เสนอแนะ และให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ
2) เสนอแนะ และให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐ
3) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดำเนินการขัดต่อหลักเกณฑ์
4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบ การกำหนด      การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ การแบ่งส่วนราชการภายใน กระทวง ทบวง กรม และส่วนราชการอื่น
5)  เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา
6)   ดำเนินการให้มีการชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไป
7)  ติดตาม ประเมินผล และแนะนำ
8)  ตีความ และวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ
9)  เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจง หรือแสดงความคิดเห็น
10)   จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการของรัฐอย่างอื่นเสนอต่อ คณะรัฐมนตรี
11)   แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมาย
12)   ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้และตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ : นายอานันท์  ปันยารชุน (นายกรัฐมนตรี)